13 มีนาคม 2568 ณ องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ThaiPBS)
“สืบสานภูมิปัญญาการเลี้ยงช้างของชาวกูยจังหวัดสุรินทร์” ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
มูลนิธิช้างแห่งประเทศไทย (AEFT) ร่วมกับ สมาคมป้องกันการทารุณสัตว์แห่งประเทศไทย (TSPCA) จัดการประชุมการจัดการประชากรช้างป่าด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ Working meeting on the application of biotechnology in wild elephant population management วันศุกร์ที่ 1 พฤศจิกายน 2567 เวลา 10.00-15.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 9 คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพฯ
วันที่ 20 มิถุนายน 2567 รศ.น.สพ.ปานเทพ รัตนากร กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิช้างแห่งประเทศไทย ผศ.กวิสรา รัตนากร นายสมหมาย หอมสวาท กรรมการและเหรัญญิก นายกมล
อุบลอ่อน นักวิชาการหัวหน้าทีมคลินิกสุขภาพช้างเคลื่อนที่ ได้รับเชิญจากนายลายทองเหรียญ
มีพันธุ์ เจ้าของ “วังช้างอยุธยาแลเพนียด” เพื่อเยี่ยม "พังจามจุรี" อายุ 30 ปี และลูกช้างแฝดเพศผู้เพศเมียคู่แรกของโลก ซึ่งตกลูกเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2567 โดยมีสัตวแพทย์หญิงลาดทองแท้ มีพันธุ์ ดูแลอย่างใกล้ชิด
วังช้างอยุธยาเริ่มต้นกิจการปลายปี 2539 โดยคุณลายทองเหรียญ มีพันธุ์ ได้ขออนุญาตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เพื่อจัดตั้งปางช้างอยุธยา โดย รศ.น.สพ.ปานเทพ รัตนากร (จากมูลนิธิคนรักช้าง ปัจจุบันมูลนิธิช้างแห่งประเทศไทย) เป็นที่ปรึกษาและให้คำแนะนำด้านหลักวิชาการ
ท่านสามารถติดตามวิดีทัศน์การประชุมได้ทาง facebook มูลนิธิช้างแห่งประเทศไทย
รศ.น.สพ.ปานเทพ รัตนากร กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิฯ รับมอบเงินจำนวน 184,000 บาท จากโครงการ Runforchang2019 จัดโดย ทีมงาน @24-7run เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ณ ที่ทำการมูลนิธิฯ
มูลนิธิฯ ออกบูธจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของมูลนิธิ ณ ตลอดบองมาเช่ 14-16 กุมภาพันธ์ 2563
15 มกราคม 2562 บริษัท เอสเอสแอล แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด มอบเงินจากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ เพื่อสนับสนุนกิจกรรมของมูลนิธิช้างแห่งประเทศไทย โดยคุณพิทยา หอมไกรลาส เป็นผู้แทนรับมอบ
แอดมินได้รวบรวมภาพยนตร์ สารคดี เกี่ยวกับช้างในประเทศไทย ที่เผยแพร่ทางสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อเป็นข้อมูลทางวิชาการสำหรับท่านที่ต้องการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับช้าง
จำนวนผู้เข้าชม web sites เริ่ม 11 Mar 2568